bplab-oa.com=> เคมีเพิ่มคุณภาพน้ำ


เคมีเพิ่มคุณภาพน้ำ

คาร์บอน (คาร์บอน กัมมันต์)

คาร์บอน (คาร์บอน กัมมันต์)


คาร์บอน (คาร์บอน กัมมันต์)

ประเภท : เคมีเพิ่มคุณภาพน้ำ

รายละเอียด

คาร์บอน (คาร์บอน กัมมันต์)

สารกรองคาร์บอน หรือ คาร์บอนกัมมันตื (Activated Carbon ) มีลักษณะเป็นเกร็ด เม็ดขนาดเล็กสีดำใช้บรรจุถังกรอง หรือ ภาชนะ ผ่านกรรมวิธีเผา และให้ความร้อนสูงจนได้โครงสร้างที่มีความพรุนสูง/พื้นที่สัมผัสสูง

บรรจุ 1ถุง 50 ลิตร สารกรอง สารกรองคาร์บอน Carbon ยี่ห้อ Biocat Bio1 50 ลิตร (1กระสอบ)

  • สารกรอง สารกรองคาร์บอน มีให้เลือก 2 ยี่ห้อ Biocat Bio1

  • าด 8x30 (เม็ดเล็ก)

  •  

  • สารกรองคาร์บอน (Activated Carbon) 50 ลิตร เป็นสารกรองที่มีลักษณะเป็นเม็ดาดเล็กสีดำ ซึ่งมีคุณสมบัติในการกำจัดความขุ่น สารแขวนลอย สารอินทรีย์ กลิ่น และสีในที่เกิดจากสารอินทรีย์ xสารกรองคาร์บอนเป็นสารกรองซึ่งมีคุณสมบัติเป็นตัวดูดซับและคัดกรองจึงทำให้สารกรองคาร์บอนมีความารถในการกรองกลิ่น สี และ

    สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติม Add Line
    086 892 2417  สะดวกที่สุดครับ

  •  

  • ยี่ห้อ Biocat ID600 าด 8x30 ตัวเม็ดคาร์บอน ทำมาจากถ่านหิน
     






ดูรายละเอียดทั้งหมด -> เมื่อวันที่ : 2021-12-12 13:12:28




เรซิน (แคนนาดา)

เรซิน (แคนนาดา)


เรซิน (แคนนาดา)

ประเภท : เคมีเพิ่มคุณภาพน้ำ

รายละเอียด

เรซิน (แคนนาดา)

VEVA NSG เป็นสารกรองเรซิ่นอเนกประสงค์ ที่มีความทนทานสูง มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุ และ มีการต้านทานความชื้นได้ดี 

ลักษณะสีเหลือง  เป็นเม็ดทรงกลมขนาดเล็กด้วยขนาดที่เล็กทำให้การแลกเปลี่ยนประจุได้มีประสิธิภาพ ซึ่งทำให้ความสามารถในการกรอง/บำบัดน้ำเกิดประสิทธิผลมาก

บรรจุ 1ถุง 25ลิตร

เรซิน (แคนนาดา) บรรจุ 25 ลิตร

เรซิ่น VEVA NSG เป็นสารกรองเรซิ่นอเนกประสงค์ ที่มีความทนทานสูง มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุและมีการต้านทานความชื้นได้ดี ลักษณะสีเหลือง
เป็นเม็ดทรงกลมขนาดเล็กด้วยขนาดที่เล็กทำให้การแลกเปลี่ยนประจุได้มีประสิทธิภาพซึ่งทำให้ความสามารถในการกรอง/บำบัดน้ำเกิดประสิทธิผลมาก
การนำ เรซิน ไปใช้:
ลดความกระด้างของน้ำประปา เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือนและในอุตสาหกรรมอาหาร:ใช้ในการบำบัดน้ำในอุตสาหกรรมผลิตน้ำตาลและน้ำผลไม้ ที่ต้องการใช้น้ำบริสุทธิ์ในการผลิต ใช้บำบัดน้ำในอุตสาหกรรมผลิตพลังงาน: ลดความกระด้าง, กำจัดแร่ธาตุ, กำจัดประจุ,บำบัดน้ำเพื่อให้บริสุทธิ์เพื่อนำน้ำกลับใสใช้ใหม่ กำจัธาตุกัมมันตรังสี (บำบัดน้ำในโรงงานนิวเครียร์) ใช้ในการแยกสกัดและผลิตโลหะ : สกัดโลหะหนัก, แร่มีค่า(ทองคำ , แพลตินัม) ใช้บำบัดน้ำเสีย : ในอุตสาหกรรมอิเล็กโทรนิค : อุตสาหกรรมผลิตสารเคมี : อุตสาหกรรมสิ่งทอและอื่นๆ.

 

สอบถามรายลเอียดเพิ่ม เติม ADD line id  086 892 2417 ได้เลย ครับ





ดูรายละเอียดทั้งหมด -> เมื่อวันที่ : 2021-12-12 13:02:44




แมงกานีส (ซีโอไลต์)

แมงกานีส (ซีโอไลต์)


แมงกานีส (ซีโอไลต์)

ประเภท : เคมีเพิ่มคุณภาพน้ำ

รายละเอียด

แมงกานีส (ซีโอไลต์)

แมงกานีส ซีโอไลต์มีลักษณะเป็นเม็ดกลม สีน้ำตาลจนถึงสีดำส่วนใหญ่จะหนักประมาณ 80 ถึง 90 ปอนด์ / ลูกบาศก์เมตร สามารถออกไซด์เหล็ก และ แมงกานีสที่ละลายอยู่ในน้ำให้เปลี่ยนไปอยู่ในรูปที่ไม่ละลายน้ำ และจะทำหน้าที่เป็นสารกรอง กรองผลึกเหล็ก และ แมงกานีส ที่ไม่ละลายน้ำแล้ว

บรรจุ 1ถุง 25ลิตร





ดูรายละเอียดทั้งหมด -> เมื่อวันที่ : 2021-12-12 12:49:22




คลอรีนไดออกไซด์

คลอรีนไดออกไซด์


คลอรีนไดออกไซด์

ประเภท : เคมีเพิ่มคุณภาพน้ำ

รายละเอียด

banner1

คลอรีนไดออกไซด์ v

 

ชื่อทางเคมี     :  คลอรีนไดออกไซด์ (Chlorine Dioxide)

สูตรทางเคมี    :  ClO2

CAS Number :  10049-04-4 

ลักษณะ         :  ของเหลวใสสีเหลือถึงเขียว

ผู้ผลิต            :  บริษัท  วอเตอร์ สเปเชียลลิส ซัพพลาย  จำกัด

 

Download for MSDS

ทางBplab ขอนำเสนอสารฆ่าเชื้อโรคทางเลือกใหม่ ที่สามารถใช้แทนคลอรีนน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าและไม่เกิดผลข้างเคียง  โดยการฆ่าเชื้อโรคในน้ำดื่มและน้ำใช้  ด้วยการใช้วิธีคลอรีนไดออกไซด์นั้น  ได้เพิ่มความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน  ทั้งนี้เนื่องจากกรรมวิธีการฆ่าเชื้อแบบธรรมดา  เกิดปฎิกริยาข้างเคียง (Side reaction)  คือคลอรีนจะไปทำปฎิกริยากับสารออแกนิคในน้ำ  ก่อเกิดเป็นสาร Trihalomethane (THM) และ Nonpurgable (NPOX)  ซึ่งสารเหล่านี้เป็นสารก่อให้เกิดมะเร็งทั้งสิ้น  สรุปได้ว่า  จะต้องพยายามหลีกเลี่ยงการใช้คลอรีนและสารไบโอไซด์ให้มากที่สุด 
 

ผลที่ได้จากปฎิกริยาของคลอรีนไดออกไซด์  กับสารออกแกนิคที่ละลายอยู่ในน้ำจะมีผลความเป็นพิษน้อยกว่าทั้งในด้านปริมาณและความรุนแรง  นอกจากนี้คลอรีนไดออกไซด์ยังละลายน้ำได้ดีกว่าด้วย
 

คลอรีนไดออกไซด์นั้น  เป็นสารที่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการฆ๋าเชื้อโรค  ทั้งในน้ำดื่มและในน้ำดิบ  ที่มีสารประเภทออแกนิคละลายอยู่อย่างมาก  เช่น  น้ำผิวดิน  หรือน้ำใต้ดิน  ที่ผ่านการหมักหมมของซากอินทรีย์ต่าง ๆ
 

การเติมคลอรีนไดออกไซด์ลงไปแม้เพียงปริมาณน้อย ๆ ก็สามารถฆ่าเชื้อโรคได้อย่างสมบูรณ์  เนื่องจากคลอรีนไดออกไซด์จะไม่ค่อยรวมกับสารอื่น ๆ เป็นสารประกอบคลอรีน  ซึ่งทำให้อำนาจในการฆ่าเชื้อของคลอรีนลดลง  ในการใช้งานส่วนใหญ่แล้วจะใช้ความเข้มข้นของคลอรีนไดออกไซด์  เพียง 0.1 ส่วนในล้านส่วน (Part per million-ppm) ก็เพียงพอต่อการฆ่าเชื้อโรค  ด้วยเหตุนี้เอง  จึงทำให้คลอรีนไดออกไซด์  ที่ผลิตโดยกรรมวิธีของ  บริษัท  วอเตอร์  สเปเชียลลิส  ซัพพลาย  จำกัด  เหมาะอย่างยิ่งสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตอาหารและเครื่องดื่ม  ทั้งนี้  เพราะเมื่อคลอรีนไดออกไซด์สัมผัสกับอาหารซึ่งอาจจะด้วยกรรมวิธีที่ออกแบบเอาไว้หรือโดยไม่จงใจก็แล้วแต่  จะไม่ทำให้อาหารนั้นมีรสชาติเปลี่ยนแปลงอย่างใด
 

คลอรีนไดออกไซด์  เป็นสารที่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการฆ่าเชื้อโรค  ในน้ำอ่อนหรือในน้ำที่มีค่า pH สูง ๆ อันเป็นสภาวะที่ความสามารถในการฆ่าเชื้อของคลอรีนไดออกไซด์หรือกว่าคลอรีน   โดยที่คลอรีนส่วนใหญ่นั้น  เมื่อค่า pH สูงขึ้นจะเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของไฮโปคลอไรท์  (OCl-) ซึ่งมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อลดลง
 

ปัจจุบันทั้ง องค์การอนามัยโลก (WHO)  คณะกรรมการอาหารและยาประเทศอเมริกา (FDA)  คณะกรรมการอาหารและยาประเทศไทย  (อย.)  ได้ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการใช้สารคลอรีนไดออกไซด์แทนคลอรีนทั่วไป  โดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  ที่ส่งออกไปยังประเทศในแถบยุโรปและอเมริกา  ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้จะขอความร่วมมือจากทางผู้ส่งออกให้ใช้สารฆ่าเชื้อในกลุ่มของคลอรีนไดออกไซด์เพื่อความปลอดภัยที่ดีกว่าของผู้บริโภค
 

คุณสมบัติ

คลอรีนไดออกไซด์

คลอรีนน้ำ

ศักยภาพการทำปฎิกริยา Oxidation

สูงกว่าคลอรีนน้ำ 5 เท่า

น้อยกว่าคลอรีนน้ำ

ช่วง pH ที่สามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6-10

6-7.5

การฆ่าเชื้อ

สามารถทะลุผนังเซลล์ เข้าไปทำลายเชื้อได้ถึงนิวเคลียส

ทำลายได้เฉพาะบริเวณผนังเซลล์

ระยะเวลา 

สามารถอยู่ในน้ำได้นานถึง 48 ชม.

สามารถอยู่ในน้ำได้น้อยกว่า 24 ชม.

ผลข้างเคียง

ไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงใด ๆ

ก่อให้เกิดผลข้างเคียงของ Trihalomethanes (THMs)

ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง

กลิ่น ในระบบน้ำประปา  น้ำดื่ม

ไม่มีกลิ่น

มีกลิ่นตกค้าง 

กลื่น เมื่อใช้กับอาหาร โปรตีน แป้ง น้ำตาล

ไม่มีกลิ่นติด  และไม่ทำให้รสชาติอาหารเปลี่ยนแปลง

บางครั้งเกิดกลิ่นที่พึงรังเกียจ

ตารางเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างคลอรีนไดออกไซด์ (ClO) กับ คลอรีนน้ำ (NaOCl)






ดูรายละเอียดทั้งหมด -> เมื่อวันที่ : 2021-12-12 12:40:38